บทความ

หุ่นยนต์ในอุตสาหกรรม

รูปภาพ
                                 ชนิดของหุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม 1.Linear Robot        หุ่นยนต์ ที่ทำงานบนแกนตั้งฉากซึ่งหมายรวมถึง หุ่นยนต์ แบบ Cartesian และ Gantry เอาไว้ด้วยกัน โดยสามารถทำงานได้ 3 แกน X Y และ Z ด้วยการเคลื่อนที่แนวตรงทำให้การทำงานมีความแม่นยำสูงและออกแบบการทำงานได้ง่ายมีความแข็งแกร่งทนทานเนื่องจากมีระยะการใช้งานที่แน่นอน นิยมใช้ในการหยิบจับเพื่อทำการประกอบ เช่น การประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ หรือติดชิ้นส่วนยานยนต์ด้วยสารเคมี 2.SCARA Robot    เป็น หุ่นยนต์ ที่มีความโดดเด่นเรื่องความคล่องแคล่วรวดเร็วแต่มีข้อจำกัดสำหรับระยะการปฏิบัติการณ์ มีข้อต่อขนานกัน 2 จุด เหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนที่ต้องการความรวดเร็วและมีขนาดเล็ก สิ่งสำคัญสำหรับการใช้งาน SCARA คือ การออกแบบระบบที่ต้องการความแม่นยำสูงจากการคำนวณรูปแบบการทำงาน สามารถใช้งานได้ดีกับอุตสาหกรรมชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ 3. Articulated Robot   เป็นหุ่นยนต์ ที่ประกอบด้วยข้อต่อโรตารีตั้ง 3 จุดขึ้นไปและอาจมีมากได้ถึง 10 จุด โดยมากมักพบเจอ Articulated Robot แบบ 6 แกน สามารถใช้ใน

สมาชิกในชั้นเรียน เทคโนโลยีอุตสาหการ

สมาชิกในห้องเรียน ชื่อ ชื่อเล่น อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค ปาล์ม 1.นายอัษฎาวุธ หนูเกลี้ยง เค 2.นางสาวอิสรา จันทร์ดำ แฟร์ 3.นางสาวอรณี สว่างเนตร มิ้ว 4.นายเสฎฐวุฒิ ศรีอนันต์ ตั้น 5.นางสาวศตพร วงษ์นิกร พิ้งค์ 6.นายศตวรรษ อินทร์แก้ว เบียร์ 7.นายธนายุต เกื้อตุ้ง จอม 8.นายอิบรออิม หลีหวัน ฮิม 9.นายยศัสวิน ชูพันธ์ พีค 10.นายพลวัฒน์ ชุมเสน

ระบบAS/RS

รูปภาพ
ระบบAS/RS ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ   (Automated Storage/Retrieval System  เรียกโดยย่อว่า  AS/RS)    คือ   การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ  AS/RS  จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์  AS/RS  ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ระบบ  AS/RS  แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้ - Unit Load AS/RS - Miniload AS/RS - Man-on-Board AS/RS  หรือ  Manaboard AS/RS - Automated Item Retrieval System - Deep-Lane AS/RS          องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ  AS/RS 1.        โครงสร้างที่เก็บวัสดุ  (Storage Structure) 2.        เครื่อง  S/R (Storage/Retrieval Machine) 3.        หน่วยของการเก็บวัสดุ  (Storage Module) 4.        สถานีหยิบและฝากวัสดุ  (Pickup and Deposit Station) อุปก
รูปภาพ
                                    ระบบขนถ่ายวัสดุแบบอัตโนมัติ      ระบบสายพานลำเลียง ( Conveyor)  ระบบสายพานลำเลียง  คือ อุปกรณ์ลำเลียง ( Conveyor )   ที่ใช้สายพาน ( Belt) เป็นตัวนำพาวัสดุ ระบบสายพานลำเลียง ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง    หลังจากวัสดุหรือชิ้นงานผ่านกระบวนการตามขั้นตอนมา เมื่อมาถึงการขนย้ายหรือลำเลียงก็จะใช้ระบบสายพานลำเลียง ( Belt Conveyor System)  ในการเคลื่อนย้ายวัสดุหรือชิ้นงาน     ระบบสายพานลำเลียงจึงเหมาะสำหรับ โรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท ที่ใช้ระบบสายพานลำเลียงในกระบวนการผลิต ระบบสายพานลำเลียง ( Belt Conveyor System)  มี  4  ประเภท 1.   ระบบสายพานลำเลียง  Plastic Belt Conveyor System ( แบบพลาสติก) tyle="text-align: center;"> รถ  AGV รถ  AGV  (Auto Guiding Vehicle)  หรือเรียก กันว่า เป็นเครื่องจักรประเภท รถอัตโนมัติชนิดหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคล้ายอุปกรณ์ประเภทรถ  Fork lift  ความแตกต่างอยู่ที่รถ  AGV  จะถูกควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์และถูกกำหนดเส้นทางในการขนส่งที่ชัดเจน โดยไม่จำเป็นต้องใช้แรงงานคนในกา

เครื่องจักรNC

รูปภาพ
                                                                   เครื่องจักรNC       NC ย่อมาจาก Numerical Control หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ NC จะถูกแทนที่ด้วยระบบ CNC เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ NC ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย NC  ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว.      วีดีโอตัวอย่างเครื่องจักรNC เครื่องจักรCNC CNC ย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึง การควบคุมการทำงานของเครื่องจักรด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบอิเลคทรอนิกส์ จะทำการประมวลผล และ สั่งการเพื่อให้เครื่องจักรทำงาน หรือ เกิดการเคลื่อนที่จากชุดคำสั่งต่าง ๆ หรือ กระทำตามเงื่อนใขที่ถูกกำหนด หลักการทำงาน ของ CNC ก ารผลิตชิ้นงานจะถูกควบคุมการ